วันพฤหัสบดีที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2563

บันทึกครั้งที่11


                                                                วันศุกร์ที่ 13  พฤศจิกายน 2563
                                                                    เวลา 8:30-12:30น.




           วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย  สาระเกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็กที่เด็กควรรู้   การเรียนวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยแตกต่างจากเด็กวัยอื่นที่เด็กปฐมวัยมีการเจริญของสมองที่รวดเร็วและต้องการการกระตุ้นเพื่อพัฒนาการของใยสมองในช่วงปฐมวัย  

คำศัพท์
1   The experiment  การทดลอง
2   EDit ไข่
3   Mixed colors ah สีผสมอาการ
4   Color   สี
 Observing สังเกต

ประเมิน
ประเมินอาจารย์ อาจารย์ค่อยเเนะนำเรื่องการทดลองมีสื่อให้ดูเทคนิคต่างๆ
ประเมินเพื่อน เพื่อนๆตั้งใจจดในสิ่งที่ได้
ประเมินตนเอง จดบางครั้งบางครั้งก็นั่งฟังอย่างตั้งใจ




วันพุธที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2563



 คลิปการทดลอง เรื่องการหักเหของแสง



การหักเหของแสง คือ การที่แสงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งทำให้แนวลำแสงเกิดการเบี่ยงเบนจากแนวเดิม


อุปกรณ์
1. กระดาษ
2. ซองพลาสติก
3. แก้วน้ำ 
4. ปากกาสี

วิธีการทดลอง
1.วาดภาพระบายสีตามจินตนาการ 
2.นำภาพที่วาดเสร็จแล้วใส่ซองพลาสติก
3.นำซองพลาสติกจุ่มลงในน้ำที่เตรียมไว้
4.สังเกตการหักเหของแสง

ผลการทดลอง

การที่เราเห็นวัตถุเกิดจากแสงจากวัตถุที่เข้าตาเราจากแสงวัตถุในน้ำที่เข้าตาเราจะมีการเบนเมื่อแสงจากน้ำสู่อากาศ
สมาชิก

นางสาวอารียา นิลกาเด็ด เลขที่1

นางสาววรรณกานต์ บุญเหมาะ เลขที่6

นางสาวพัชริดา โป๊ะประนม เลขที่7

นางสาวประภาพรรณ ศรีนาค เลขที่24

นางสาวศศิภา เทพันดุง เลขที่ 25

 บันทึกที่10 



สื่อเพื่อพัฒนาลูกรัก 

          เอกสารส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยสาหรับผู้ปกกครอง

         สวัสดีค่ะท่านผู้ปกครองพวกเรามีเทคนิคการพฒันาทกัษะทางสติปัญญาด้านนคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จากการประดษิฐ์ผ่านแนวคิด สะเต็มด้วยนิทานการทดลองเรื่อง "กระต่ายตื่นตูม" ซึ่งในนิทานเราสามารถนา แนวคิดจากกิจกรรมสะเต็มมาทาที่บา้นได้โดยกจิกรรมนี้จะเกี่ยวเรื่องแรงต้านอากาศผู้ปกครองสามารถทาตาม ได้ง่ายๆ โดยทากิจกรรมร่มชูชีพ และวสัดุอุปกรณ์ที่ใช้ก็สามารถหาได้ง่ายๆ โดยจะมี ถุงพลาสติก ด้ายหรือเชือก ใช้ตุ๊กตาตัวเล็กๆหรือดินน้ามันแทนได้ผู้ปกกครองสามารถให้ลูกน้อยของท่านไดทำร่มชูชีพของตนเองได้ กิจกรรมนี้จะช่วยให้ลูกน้อยของท่านได้มีทักษะในการคิด การแกไ้ขปัญหา และยังนำทักษะเหล่านี้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อีกด้วยค่ะ


กิจกรรมการทดลองเรื่อง “กระต่ายตื่นตูม”

       กระต่ายตวัหนึ่งนอนหลับอยู่ใต้ต้นตาลขณะที่นอนหลับอยู่นั้นเกิดพายุใหญ่ทำให้ลูกตาลหล่นลงที่พื้นดิน กระต่ายตกใจตื่ขึ้นคิดว่าฟ้าถล่ม ไม่ทันได้ไตร่ตรอง รีบลุกขึ้นไปบอกสัตว์ตัวอื่นว่า


“ฟ้าถล่ม”


 สัตว์นั้นไม่ทันคิดพากันนวิ่งตามกระต่ายไปหกล้มแข้งขาหักชนต้นไม้ตกเหวตายบ้างก็มี จนกระทั้งมาพบ พญาราชสีห์ตัวหนึ่ง ราชสีห์ร้องถามว่า "พวกท่านวิ่ง หนีอะไรมา”



กระต่ายจึงเล่าเรื่องให้ราชสีห์ฟัง ราชสีห์จึงถามต่อไปว่า “ฟ้าถล่มที่ตรงไหน จงพาเราไปดูที” 

พอไปถึงใต้ต้นตาลราชสีห์เห็นลูกตาลตกอยู่ที่โคนต้นก็เข้าใจว่าลูกตาลตกลงบนใบตาลแห้ง จึงเกิดเสียงจนทำให้เจ้ากระต่ายคิดว่าแผ่นดินถล่ม


 

คุยกับลูก “ถ้าหนูเป็นกระต่ายหนูจะตื่นตูมตกใจเหมือนกระต่ายหรือไม่เพราะอะไร”


บทสรุป


“เด็กๆเห็นหรือว่าถา้ หากเราไม่มีสติ เชื่อคนง่ายก็จะให้ท้้งตัวเราเองและผู้อื่นเดือดร้อน ดังนั้นอย่าตกใจโวยวายหรือเชื่อข่าวลือจากผอูื่นโดยไม่พิจารณาให้รอบครอบเสียก่อน”


เล่นกับลูก


ให้เด็กๆทาการทดลองที่เกี่ยวขอ้งกบัแรงอากาศ


วัสดุอุปกรณ์


1. ถุงพลาสติก


2. เชือกหรือด้าย


3. ตุ๊กตาตัวเล็กๆหรือดินน้ำมัน


4. กรรไกร


5. ไม้บรรทัด



มีขั้นตอนให้ผู้ปกครอง ดังนี้

- ตัดถุงพลาสติกให้มีขนาด 30x30 เซนติเมตร



- จากนั้นนำเชือกมามัดทั้ง4มุมของถุงพลาสติก

- ปลายเชือกอีกด้านมัดเข้ากับตุ๊กตา

- ปล่อยร่มชูชีพจากที่สูง


ผลการทดลอง

ร่มชูชีพ มีแรงต้านอากาศทาให้คนและของค่อยๆตกลงสู่พื้นแบบไม่เร็วกันคนจะได้ไม่บาดเจ็บหรือเสียชีวิตและ ของจะได้ไม่ชารุดเสียหาย




 บันทึกที่9



                                                           วันศุกร์ที่ 16 ตุลาคม 2563

                                                               เวลา 08:30-12:30น.

วันนี้อาจารย์ให้ทำกิจกรรมที่หลากหลายไม่ว่าจะเป็น ของเล่นเกี่ยวกับอากาศ โดยอาจารย์ให้กระดาษเเข็งมาดิฉันทำคล้ายๆกังหันลม ที่ใช้มือหมุนเเล้วค่อยๆดิ่งลงช้าๆ

                                                                     (ภาพกิจกรรม)






คำศัพท์ภาษาอังกฤษ
1.Air   อากาศ
2. Air pressure   ความดันอากาศ
3. Buoyant force   แรงพยุง
4. Gravitational force  แรงโน้มถ่วง
5. Shape   รูปร่าง

การประเมิน 

ประเมินอาจารย์ : อาจารย์ตั้งใจอธิบายเกี่ยวกับคุณสมบัติของอากาศและมีกิจกรรมมาให้นักศึกษาทำ
ประเมินเพื่อน : เพื่อนๆตั้งใจฟังที่อาจารย์อธิบายและให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม
ประเมินตนเอง : ตั้งใจฟังที่อาจารย์อธิบายและตั้งใจทำกิจกรรม




 บันทึกที่8



วันศุกร์ ที่ 9 ตุลาคม พ.ศ.2563

 เวลาเรียน 08:30-12:30 น.

เนื้อหาที่เรียน

"คุณสมบัติของน้ำ" 

- ร่างกายมนุษย์มีน้ำเป็นส่วนประกอบ 70 % น้ำช่วยปรับสมดุล ปรับอุณหภูมิ ถ้าขาดน้ำร่างกายจะอ่อนเพลีย มนุษย์ขาดน้ำได้ 3 วัน

- ผัก ผลไม้ มีน้ำเป็นส่วนประกอบ 90 % 

- สิ่งมีชีวิตในทะเลทรายจะปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม อูฐ อดน้ำได้ 10 วัน เพราะอูฐสามารถเปลี่ยนไขมันที่โหนกหลังเป็นน้ำได้  กระบองเพชร จะสะสมน้ำไว้ในลำต้นเป็นจำนวนมาก

การเปลี่ยนสถานะของน้ำ 

ของแข็ง > ของเหลว > ก๊าซ 

การเกิดฝน 

น้ำเมื่อโดนความร้อนของดวงอาทิตย์ก็จะระเหยกลายเป็นไอเมื่อลอยขึ้นไปบนท้องฟ้าก็จะก่อตัวเป็นเมฆเกิดการควบแน่นแล้วก็ตกลงมาเป็นฝน 

การระเหย 

น้ำจะระเหยเมื่อได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์เปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นก๊าซ 

การระเหยเกิดบนผิวน้ำ , น้ำตื้น เช่น แอ่งน้ำบนถนน 

การขยายตัว

น้ำ > น้ำแข็ง

น้ำมีโมเลกุลเรียงตัวกันพอดี

น้ำแข็งโมเลกุลขยายตัวออก เป็นโมเลกุลหลวมๆ น้ำสามารถขยายตัวได้ถึง 12 % 

ความหนาแน่น

น้ำทะเลมีความหนาแน่นมากกว่าน้ำธรรมดาเพราะน้ำหนักของเกลือ ทำให้วัตถุสามารถลอยได้

แรงตึงผิว 

เมื่อผิวหน้าของน้ำสัมผัสกับอากาศโมเลกุลจะรวมตัวทำให้เกิดความยืดหยุ่นทำให้ของที่มีน้ำหนักเบาสามารถลอยน้ำได้


    อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม เพื่อสรุปเนื้อหาที่เรียนเกี่ยวกับน้ำ ลงชาร์จ
                                                                      (ภาพกิจกรรม)
  


คำศัพย์ภาษาอังกฤษ
1. water น้ำ

  2.liquid ของเหลว

  3.status สถานะ

  4.air pressure แรงกดอากาศ

  5.rain ฝน
  
การประเมิน

         ประเมินอาจารย์ อาจารย์อธิบายกระชับเข้าใจง่าย มีการยกตัวอย่างประกอบ
         ประเมินเพื่อน ตั้งใจฟังดี สนใจเนื้อหาที่เรียน
         ประเมินตนเอง ตั้งใจเรียน ถามเมื่อมีข้อสงสัย




บันทึกครั้งที่7  



วันพุธ ที่ 7 ตุลาคม 2563

 เวลา 13:00-16:00 น. (เรียนชดเชย)

เนื้อหา

- อาจารย์ได้ให้นศ แบ่งกลุ่มละ5 คนเพื่อทำกิจกรรม

กิจกรรมที่1 วาดภาพแม่น้ำ ให้เพื่อนสังเกต และตอบชื่อ

กิจกรรมที่2 ทำสไลด์เดอร์ให้ดินน้ำมันเคลื่อนที่ช้าที่สุด

กิจกรรมที่3 ทำดอกไม้ลอยน้ำ





ทักษะที่ได้รับ 

-ทักษะการสังเกต ว่าสิ่งที่เพื่อนๆว่าแหล่งน้ำมันคือที่ไหน และมีจุดเด่นอะไรบ้าง

-ทักษะการคิดวางแผน ในการทำสไลเดอร์อย่างไรเพื่อที่จะให้ดอนน้ำมันกลิ้งลงได้ช้าที่สุด

-ทักษะในการให้เหตุผล การที่ทำให้ให้ดินน้ำมันกลิ้งนานก็จะต้องทำให้สไลเดอร์ต่ำลง

วิทยาศาสตร์

ระดับของความราดเอียงของสไลเดอร์ ความสูงต่ำ และการเสียดทานของหลอดกับดินน้ำมัน มีการจับเวลา เกี่ยวกับสเปสกับเวลา

คณิตศาสตร์

เรื่องจำนวน ว่าใช้หลอดที่อาจารย์เตรียมให้กี่อัน 

เรื่องการวัด ระยะของความยาว และการจับเวลา


คำศัพท์ภาษาอังกฤษ

1. Engineering  วิศวกรรมศาสตร์

2. Friction   แรงเสียดทาน

3. Infiltrate   แทรกซึม

4. Analyze   วิเคราะห์

5. Space   พื้นที่


การประเมิน 

ประเมินอาจารย์ : อาจารย์อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หลังจากที่นักศึกษานำเสนอผลงาน

ประเมินเพื่อน : เพื่อนๆตั้งใจฟังที่อาจารย์อธิบาย และช่วยกันทำงานจนเสร็จ

ประเมินตนเอง : ตั้งใจฟังที่อาจารย์อธิบาย และช่วยเพื่อนทำงานจนเสร็จ



บันทึกครั้งที่6 



  วันศุกร์ ที่ 25 กันยายน พ.ศ.2563 

เวลาเรียน 08:30-12:30 น.


 เนื้อหารที่เรียน

      งานจับคู่สร้างของเล่นวิทยาศาสตร์ จากสิ่งของเหลือใช้

                                           Airplane 🛬


            วัสดุอุปกรณ์


                        1.ขวดน้ำ


                        2.แกนกระดาษทิชชู่


                        3.กาว


                        4.กระดาษสี


                        5.ไม้เสียบลูกชิ้น


    


                    วิธีการทำ


                            1.ตัดขวดเป็นรูปทรงตามที่ต้องการ


                            2.นำไม้เสียบลูกชิ้นมาเจาะรูปข้างขวด


                            3.ติดกาวประกอบชิ้นส่วน





บันทึกครั้งที่11                                                                  วันศุกร์ที่ 13  พฤศจิกายน 2563                            ...